รูปแบบการสร้างป่า สร้างรายได้
ประเภทป่าดงดิบเขา (พื้นที่ 1 ไร่)
ไม้ป่า |
ไม้เกษตร |
|||
พันธุ์ไม้ |
จำนวนต้น |
พันธุ์ไม้ |
จำนวนต้น |
|
ชั้นบน |
ไม้ในวงศ์ก่อ ไม้ในวงศ์ยาง ทะโล้ จําปาป่า ตะเคียนทอง |
15 |
แมคคาเดเมีย อะโวคาโด้ เกาลัด พลับ หน่ำเลี๊ยบ |
10 |
ชั้นรอง |
มะแขว่น มะรุม เพกา มะขามป้อม หว้า มะเกี่ยง ไผ่ มะตึ่งยาง |
30 |
กาแฟ |
45 |
ชั้นไม้พุ่ม |
เมี่ยง หวาย ต๋าว ก๋ง กล้วยป่า |
15 |
เสาวรส (ไม้เถา) ชาอัสสัม วานิลลา (ไม้เถา) |
25 |
ชั้นผิวดิน |
บุก |
ตามความเหมาะสม |
ขมิ้น ไพล ขิง ข่า กวาวเครือ |
ตามความเหมาะสม |
ประเภทป่าดงดิบเขา (พื้นที่ 1 ไร่)
ระดับเรือนยอด |
ไม้ป่า |
ไม้เกษตร |
||
พันธุ์ไม้ |
จำนวนต้น |
พันธุ์ไม้ |
พันธุ์ไม้ |
|
ชั้นบน |
ยางนา ยางแดง กระบก งิ้วป่า ตะเคียนทอง กระบาก พะยูง ชิงชัน มะค่าโมง สัตตบรรณ เก็ดดำ มะแขว่น ตะแบก กันเกรา ลูกดิ่ง |
15 |
อะโวคาโด้ ลิ้นจี่ ลําไย มะม่วง มะขาม (เลือกให้เหมาะสมกับความสูง |
10 |
ชั้นรอง |
มะไฟ มะขม แก้ว อินทนิล ลําดวน เชียด หว้า มะหาด สาธร ลําไยป่า มะหวด กระโดน เพกา สะเดา คอแลน มะขามป้อม |
30 |
มะเฟือง มะยม ไผ่ กาแฟ |
45 |
ชั้นไม้พุ่ม |
หวาย เข็ม ดีปลากั้ง |
15 |
กล้วย หม่อน เร่ว ผักหวานบ้าน ดีปลี พริกไทย |
25 |
ชั้นผิวดิน |
มันป่า บุก กระทือ กระชาย กระเจียว ค้างคาวดํา กระวาน |
ตามความเหมาะสม |
ข่า เผือก มันเทศ ขิง |
ตามความเหมาะสม |
ประเภทป่าดงดิบชื้น (พื้นที่ 1 ไร่)
ระดับเรือนยอด |
ไม้ป่า |
ไม้เกษตร |
||
พันธุ์ไม้ |
จำนวนต้น |
พันธุ์ไม้ |
พันธุ์ไม้ |
|
ชั้นบน |
ตะเคียนทอง ยางกล่อง กันเกรา จําปาป่า ยางเสี้ยน หลุมพอ สยา ไข่เขียว ยางนา ตะเคียนชันตาแมว |
15 |
สะตอ หยี ทุเรียน หมาก |
10 |
ชั้นรอง |
กฤษณา อบเชย ไผ่ป่า เฉียงนก จันทร์กระพ้อ |
30 |
มะปริง |
45 |
ชั้นไม้พุ่ม |
หวาย มันปู |
15 |
ดีปลี หวาย สละ ระกํา |
25 |
ชั้นผิวดิน |
กระวาน ดาหลา |
ตามความเหมาะสม |
ชะพลู ผักกูด เห็ดหูหนู เห็ดแครง |
ตามความเหมาะสม |
ประเภทป่าเบญจพรรณ (พื้นที่ 1 ไร่)
ระดับเรือนยอด |
ไม้ป่า |
ไม้เกษตร |
||
พันธุ์ไม้ |
จำนวนต้น |
พันธุ์ไม้ |
พันธุ์ไม้ |
|
ชั้นบน |
ชิงชัน แดง สัก ประดู่ มะค่าโมง |
15 |
มะม่วง กระท้อน ขนุน มะขาม |
10 |
ชั้นรอง |
สะเดา มะกอกป่า มะขามป้อม หว้า สมอไทย สาธร มะตูม |
30 |
ไผ่เลี้ยง มะรุม มะเฟือง แคบ้าน |
45 |
ชั้นไม้พุ่ม |
ผักหวานป่า เม็ก ติ้ว มะเม่า |
15 |
มะกรูด มะนาว กล้วย ผักหวานบ้าน หม่อน ชะอม มะละกอ น้อยหน่า เหลียง ถั่วมะแฮะ ดีปลี |
25 |
ชั้นผิวดิน |
กระวาน ชะพลู ย่านาง และเห็ด |
ตามความเหมาะสม |
ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย เตยหอม |
ตามความเหมาะสม |
ประเภทป่าเต็งรัง (พื้นที่ 1 ไร่)
ระดับเรือนยอด |
ไม้ป่า |
ไม้เกษตร |
||
พันธุ์ไม้ |
จำนวนต้น |
พันธุ์ไม้ |
พันธุ์ไม้ |
|
ชั้นบน |
ยางเหียง เต็ง รัง แดง พยอม |
15 |
มะม่วง ขนุน เกาลัด ลิ้นจี่ มะไฟ มะขาม ลําไย |
10 |
ชั้นรอง |
มะขามป้อม รัก สมอไทย |
30 |
ไผ่บงหวาน ไผ่เลี้ยงหวาน แคบ้าน พุทรา มะเฟือง มะรุม |
45 |
ชั้นไม้พุ่ม |
ผักหวานป่า เหมือดโลด ปรง |
15 |
หม่อน ชะอม ฝรั่ง กล้วย น้อยหน่า ดีปลี มะละกอ |
25 |
ชั้นผิวดิน |
กลอย มันป่า กระเจียว ไผ่เพ็ก เปราะหอม เอื้องหมายนา ข้าวเย็นเหนือ หนอนตายอยาก ข้าวเย็นใต้ บุก แฝก กล้วยไม้ป่า กวาวเครือ ย่านาง หมาน้อย ผักกาดหญ้า |
15 |
ไพล ขมิ้นขิง ข่า มะเขือ พริก กระชาย มันเทศ ตะไคร้ กระชายดํา |
10 |
หมายเหตุ :
1. พืชแต่ละชนิดอาจมีมากกว่าที่ระบุในตาราง สามารถเลือกชนิดของพืชได้ตามความเหมาะสมของพื้นที่ ในแต่ละระดับชั้นเรือนยอด
2. ที่มา ข้อมูลจาก รายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดรูปแบบสร้างป่า สร้างรายได้” 29 กันยายน – 1 ตุลาคม 2557 ณ ศูนย์ประชุมและฝึกอบรมคลังก๊าซ ปตท. อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี